โดย บีพี ตัง ผู้อำนวยการประจำภูมิภาคเอเชี ยของลิงค์ซิสและเบลคิน
ช่วงวิกฤตการณ์ทางการเมืองขณะนี ้ อาจเปรียบเหมือนการรีเพลย์ ภาพของมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นเมื ่อปี 2554ซึ่งส่งผลกระทบต่อพื้นที่ และประชาชนกว่าหนึ่งล้านคนในอดี ตที่ผ่านมา โดยที่องค์กรส่วนใหญ่ไม่ได้เตรี ยมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ที่ เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน ถึงแม้ว่าช่วงวิกฤตการณ์ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นตอนนี้ ประชาชนอาจได้รับผลกระทบไม่เท่ ากับช่วงมหาอุทกภัย แต่ปัจจุบันบริษัทและองค์กรต่ างๆ ในไทยมีความตื่นตัวต่อเหตุการณ์ และเตรียมพร้อมเป็นอย่างดีเพื่ อรับมือกับสถานการณ์ความไม่สงบ ควบคู่ไปกับการดำเนินธุรกิจอย่ างต่อเนื่องโดยไม่สะดุด
เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบต่
ในอดีต โฮมเน็ตเวิร์กถูกจำกัดการใช้ งานเฉพาะในแวดวงคนที่ชื่ นชอบเทคโนโลยี แต่ทุกวันนี้ การจัดลำดับความสำคัญได้เปลี่ ยนแปลงไป กล่าวคือ การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ ตกลายเป็นส่วนประกอบหลักของกิ จวัตรประจำวันภายในบ้าน เช่น เพื่อใช้สำหรับการทำงานหรือธุ รกิจ ซื้อสินค้า พบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูง เพื่อนร่วมงานและญาติพี่น้อง หรือเพื่อความบันเทิง
นอกจากนี้ จำนวนอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกั บเครือข่ายโฮมเน็ตเวิร์กก็เพิ่ มขึ้นเช่นกัน ปัจจุบัน ครัวเรือนทั่วไปมีอุปกรณ์เชื่ อมต่ออย่างน้อย 6 เครื่อง ตั้งแต่แล็ปท็อปไปจนถึงแท็บเล็ต เกมคอนโซล เครื่องพิมพ์ และสมาร์ทโฟน ที่จริงแล้ว จำนวน Smart Device ได้แซงหน้าจำนวนประชากรทั่ วโลกไปเมื่อปี 2556 และจะมีจำนวนถึง 50,000 ล้านเครื่องภายในปี 2563 (Stevens Institute of Technology) จากผลการวิจัย พบว่าสัดส่วนผู้ใช้สมาร์ ทโฟนในเมืองไทยอยู่ที่ 30 เปอร์เซ็นต์ และการเปลี่ยนไปใช้สมาร์ทโฟนยั งคงเป็นปัจจัยหลักในการกระตุ้ นรายได้สำหรับตลาดไอซีทีในปีหน้ า (รายงานประจำปีทั่วโลกของ TNS, ธันวาคม2556) และในปีที่แล้ว 14 ล้านครัวเรือนจากทั้งหมด 20 ล้านครัวเรื อนในประเทศไทยสามารถเชื่อมต่ออิ นเทอร์เน็ตขได้ ประกอบด้วย9 ล้านครัวเรือนที่ใช้บรอดแบนด์ ไร้สาย และอีก 4 ล้านครัวเรือนใช้บรอดแบนด์อิ นเทอร์เน็ตพื้นฐาน [กระทรวงไอซีที, พฤศจิกายน2556] ซึ่งเป็นผลมาจากการริเริ่มใช้อุ ปกรณ์เชื่อมต่อใหม่ๆ เช่น สมาร์ททีวี อุปกรณ์อัจฉริยะ หรือแม้กระทั่งหลอดไฟอัจฉริยะที ่เชื่อมต่อกับเครือข่าย
ถือเป็นหน้าที่และความรับผิ ดชอบของเราในการให้ความรู้ในเรื ่องของโอกาสที่เกิดจากระบบเครื อข่ายอัจฉริยะแบบครบวงจรภายในบ้ านที่มีการเชื่อมต่อกันอย่างทั่ วถึง และที่สำคัญกว่านั้นคือ ข้อได้เปรียบมากมายในการอั พเกรดเป็นสมาร์ทเราเตอร์ เพื่อให้เราเตอร์ดังกล่าวทำหน้ าที่เป็นศูนย์กลางเครือข่ ายภายในบ้านได้อย่างมีประสิทธิ ภาพมากขึ้น
การใช้อินเทอร์เน็ตแบบเชื่อมต่ อผ่านสายสัญญาณกลายเป็นอดี ตไปเสียแล้ว เพราะถูกแทนที่ด้วยการเชื่อมต่อ Wi-Fi ที่สะดวกสบาย แข็งแกร่ง และเปี่ยมด้วยประสิทธิภาพ สมาร์ทเราเตอร์กระจายการเชื่ อมต่ออินเทอร์เน็ตที่มีค่าของคุ ณให้ไปได้ไกลและกว้างขวางมากขึ้ น โดยรองรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์อั จฉริยะหลากหลายประเภททั่วทุกจุ ดภายในบ้าน ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ เช่น แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน ถือเป็นอุปกรณ์ทางสังคมที่ใช้ งานภายในบ้าน ข้อมูลจากรายงานฉบับล่าสุ ดของฟอร์เรสเตอร์2 ชี้ว่าเจ้าของแท็บเล็ต 62% ในยุโรปใช้แท็บเล็ตในห้องนั่ งเล่น และ 45% ใช้งานในห้องนอน เพื่อค้นหาเนื้อหาคอนเทนต์ใหม่ๆ รวมถึงวิดีโอซึ่งครองสัดส่วนสู งสุดสำหรับการใช้แบนด์วิธในปั จจุบัน
นอกเหนือจากระยะเชื่อมต่อ Wi-Fi ที่ดีขึ้นแล้ว สมาร์ทเราเตอร์ยังเข้าถึงผู้บริ โภคได้ง่ายขึ้นอีกด้วย โดยปรับเปลี่ยนจาก ‘กล่องดำ’ไปสู่อุปกรณ์ที่เข้าใจได้และใช้ งานได้อย่างง่ายดาย สมาร์ทเราเตอร์ช่วยให้ผู้บริ โภคมีทางเลือกในการควบคุมการใช้ งานอินเทอร์เน็ตของลูกๆ อย่างยืดหยุ่น หรือจัดลำดับความสำคัญของแบนด์ วิธไปยังอุปกรณ์ที่ เฉพาะเจาะจงในช่วงเวลาหนึ่งๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา ยิ่งไปกว่านั้น ยังสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่ รองรับอินเทอร์เน็ตได้อย่ างราบรื่น โดยใช้โมบายล์แอพที่ช่วยให้ผู้ บริโภคสามารถสร้างระบบเครือข่ ายอัจฉริยะภายในบ้านที่มีการเชื ่อมต่อทั่วถึงกันอย่างแท้จริง
สิ่งที่หลายคนยังขาดอยู่ในบ้ านทุกวันนี้ก็คือ “เครือข่ายโฮมเน็ตเวิร์กที่ รองรับการเข้าถึงอย่างครอบคลุ มโดยไม่มีจุดอับสัญญาณ และมีการเชื่อมต่อที่ไว้ใจได้” ขณะที่บ้านในปัจจุบันกำลังพั ฒนาไปสู่บ้านแห่งอนาคตที่มี การเชื่อมต่อกันอย่างทั่วถึง เราจึงต้องการศูนย์กลาง หรือในแง่หนึ่งก็คือ “สมองของบ้าน” เพื่อจัดการชีวิตบนเว็บ ด้วยเหตุนี้ เราเตอร์ที่คุณเลือกจึงเปรี ยบได้กับสมองของบ้านคุณ ดังนั้นผู้ใช้ควรคำนึงถึงความต้ องการของคนในครอบครัวหรือธุรกิ จขนาดเล็กทั้งในวันนี้และวันหน้ า